ภควัท-คีตา ฉบับเดิม
บทที่ สอง
บทสรุป ภควัท-คีตา
โศลก 36
avācya-vādāṁś ca bahūn
vadiṣyanti tavāhitāḥ
nindantas tava sāmarthyaṁ
tato duḥkha-taraṁ nu kim
vadiṣyanti tavāhitāḥ
nindantas tava sāmarthyaṁ
tato duḥkha-taraṁ nu kim
อวาจฺย-วาทำศฺ จ พหูนฺ
วทิษฺยนฺติ ตวาหิตาห์
นินฺทนฺตสฺ ตว สามรฺถฺยํ
ตโต ทุห์ข-ตรํ นุ กิมฺ
วทิษฺยนฺติ ตวาหิตาห์
นินฺทนฺตสฺ ตว สามรฺถฺยํ
ตโต ทุห์ข-ตรํ นุ กิมฺ
อวาจฺย — ไม่มีความกรุณา, วาทานฺ — คำพูดที่แต่งขึ้น, จ — เช่นกัน, พหูนฺ — มาก, วทิษฺยนฺติ — จะกล่าวว่า, ตว — ของเธอ, อหิตาห์ — ศัตรู, นินฺทนฺตห์ — ขณะที่หมิ่นประมาท, ตว — ของเธอ, สามรฺถฺยมฺ — ความสามารถ, ตตห์ — กว่านั้น, ทุห์ข-ตรมฺ — เจ็บปวดมากกว่า, นุ — แน่นอน, กิมฺ — อะไรที่นั่น
คำแปล
ศัตรูจะตำหนิเธอด้วยคำหยาบ
คำอธิบาย
ในตอนแรกองค์ศฺรีกฺฤษฺณทรงประหลาดใจที่ อรฺชุน ทรงมีความเมตตาสงสารที่ไม่จำเป็นจะเป็นเพียงข้ออ้าง และองค์กฺฤษฺณทรงอธิบายความเมตตาสงสารนี้ว่าเหมาะสำหรับอนารยชน ขณะนี้องค์กฺฤษฺณทรงพิสูจน์คำดำรัสของพระองค์ต่อสิ่งที่ อรฺชุน ทรงเรียกว่าความเมตตาสงสาร