ภควัท-คีตา ฉบับเดิม
บทที่ สาม
กรฺม-โยค
โศลก 36
arjuna uvāca
atha kena prayukto ’yaṁ
pāpaṁ carati pūruṣaḥ
anicchann api vārṣṇeya
balād iva niyojitaḥ
atha kena prayukto ’yaṁ
pāpaṁ carati pūruṣaḥ
anicchann api vārṣṇeya
balād iva niyojitaḥ
อรฺชุน อุวาจ
อถ เกน ปฺรยุกฺโต ’ยํ
ปาปํ จรติ ปูรุษห์
อนิจฺฉนฺนฺ อปิ วารฺษฺเณย
พลาทฺ อิว นิโยชิตห์
อถ เกน ปฺรยุกฺโต ’ยํ
ปาปํ จรติ ปูรุษห์
อนิจฺฉนฺนฺ อปิ วารฺษฺเณย
พลาทฺ อิว นิโยชิตห์
อรฺชุนห์ อุวาจ — อรฺชุน ตรัส, อถ — จากนั้น, เกน — ด้วยอะไร, ปฺรยุกฺตห์ — กระตุ้น, อยมฺ — บุคคล, ปาปมฺ — ความบาป, จรติ — ทำ, ปูรุษห์ — มนุษย์, อนิจฺฉนฺ — ไม่มีความปรารถนา, อปิ — ถึงแม้ว่า, วารฺษฺเณย — โอ้ ผู้สืบราชวงศ์ วฺฤษฺณิ, พลาตฺ — ด้วยกำลัง, อิว — ประหนึ่งว่า, นิโยชิตห์ — ปฏิบัติ
คำแปล
อรฺชุน
คำอธิบาย
สิ่งมีชีวิตซึ่งเป็นละอองอณูขององค์ภควานฺ เดิมทีเป็นทิพย์ บริสุทธิ์ และปราศจากมลทินทางวัตถุทั้งปวง ฉะนั้นโดยธรรมชาติจะไม่อยู่ภายใต้อำนาจแห่งความบาปในโลกวัตถุ แต่เมื่อมาสัมผัสกับธรรมชาติวัตถุเราทำบาปนานัปการโดยไม่ลังเลใจ แม้บางครั้งตนเองไม่ปรารถนา ดังนั้น อรฺชุน ทรงถามองค์กฺฤษฺณ เช่นนี้จึงให้ความหวังมากเกี่ยวกับธรรมชาติอันวิปริตของสิ่งมีชีวิต แม้สิ่งมีชีวิตบางครั้งไม่ต้องการทำบาปแต่ถูกบังคับให้ทำ อย่างไรก็ดีอภิวิญญาณผู้ประทับอยู่ภายในหัวใจของเราทรงมิได้เป็นผู้กระตุ้นให้ทำบาป แต่เนื่องมาจากสาเหตุอื่น ดังที่องค์ภควานฺจะทรงอธิบายในโศลกต่อไป